วันอังคารที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2554

ปลาควาย

สกุลแปบควาย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Paralaubuca) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งชนิด อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Alburninae
มีรูปร่างโดยรวมคือ มีรูปร่างยาว ลำตัวแบนข้างมาก ปากเล็ก ตาโต ท้องเป็นสันคม ด้านท้องค่อนข้างกว้างออก ครีบอกยาว ครีบหางเว้าลึก เกล็ดเล็กละเอียดสีเงินแวววาว เส้นข้างลำตัวไม่ต่อเนื่องกัน ขนาดโดยเฉลี่ย 15 เซนติเมตร มักอยู่เป็นฝูงใหญ่ มีการอพยพขึ้นล่องตามแม่น้ำเพื่อวางไข่และหากินเป็นฤดูกาล มักอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ที่ไหลเชี่ยว หากินใกล้ผิวน้ำ พบตั้งแต่แม่น้ำโขงถึงแม่น้ำเจ้าพระยาไปจนถึงมาเลเซีย กินแมลงหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร
มีทั้งหมด 5 ชนิด[1] โดยเป็นชนิดที่พบได้ในประเทศไทย 3 ชนิด
Paralaubuca barroni (Fowler, 1934)
Paralaubuca harmandi (Sauvage, 1883)**พบในประเทศไทย
Paralaubuca typus (Bleeker, 1865)**พบในประเทศไทย
Paralaubuca riveroi (Fowler, 1935)**พบในประเทศไทย
Paralaubuca stigmabrachium (Fowler, 1934)
ซึ่งสำหรับในประเทศไทย ปลาแปบควายทั้ง 3 ชนิด ถูกจับขึ้นมาเพื่อทำปลาแห้ง ปลาร้า และบริโภคโดยปรุงสด อีกทั้งยังเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วย
โดยมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า "ท้องพลุ" และในภาษาอีสานเรียกว่า "แตบ", "แตบขาว" หรือ "มะแปบ" เป็นต้น

สกุลแปบควาย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Paralaubuca) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งชนิด อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Alburninae

มีรูปร่างโดยรวมคือ มีรูปร่างยาว ลำตัวแบนข้างมาก ปากเล็ก ตาโต ท้องเป็นสันคม ด้านท้องค่อนข้างกว้างออก ครีบอกยาว ครีบหางเว้าลึก เกล็ดเล็กละเอียดสีเงินแวววาว เส้นข้างลำตัวไม่ต่อเนื่องกัน ขนาดโดยเฉลี่ย 15 เซนติเมตร มักอยู่เป็นฝูงใหญ่ มีการอพยพขึ้นล่องตามแม่น้ำเพื่อวางไข่และหากินเป็นฤดูกาล มักอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ที่ไหลเชี่ยว หากินใกล้ผิวน้ำ พบตั้งแต่แม่น้ำโขงถึงแม่น้ำเจ้าพระยาไปจนถึงมาเลเซีย กินแมลงหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร

มีทั้งหมด 5 ชนิด[1] โดยเป็นชนิดที่พบได้ในประเทศไทย 3 ชนิด

  • Paralaubuca barroni (Fowler, 1934)
  • Paralaubuca harmandi (Sauvage, 1883)**พบในประเทศไทย
  • Paralaubuca typus (Bleeker, 1865)**พบในประเทศไทย
  • Paralaubuca riveroi (Fowler, 1935)**พบในประเทศไทย
  • Paralaubuca stigmabrachium (Fowler, 1934)

ซึ่งสำหรับในประเทศไทย ปลาแปบควายทั้ง 3 ชนิด ถูกจับขึ้นมาเพื่อทำปลาแห้ง ปลาร้า และบริโภคโดยปรุงสด อีกทั้งยังเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วย

โดยมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า "ท้องพลุ" และในภาษาอีสานเรียกว่า "แตบ", "แตบขาว" หรือ "มะแปบ" เป็นต้น

สกุลแปบควาย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Paralaubuca) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งชนิด อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Alburninae

มีรูปร่างโดยรวมคือ มีรูปร่างยาว ลำตัวแบนข้างมาก ปากเล็ก ตาโต ท้องเป็นสันคม ด้านท้องค่อนข้างกว้างออก ครีบอกยาว ครีบหางเว้าลึก เกล็ดเล็กละเอียดสีเงินแวววาว เส้นข้างลำตัวไม่ต่อเนื่องกัน ขนาดโดยเฉลี่ย 15 เซนติเมตร มักอยู่เป็นฝูงใหญ่ มีการอพยพขึ้นล่องตามแม่น้ำเพื่อวางไข่และหากินเป็นฤดูกาล มักอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ที่ไหลเชี่ยว หากินใกล้ผิวน้ำ พบตั้งแต่แม่น้ำโขงถึงแม่น้ำเจ้าพระยาไปจนถึงมาเลเซีย กินแมลงหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร

มีทั้งหมด 5 ชนิด[1] โดยเป็นชนิดที่พบได้ในประเทศไทย 3 ชนิด

  • Paralaubuca barroni (Fowler, 1934)
  • Paralaubuca harmandi (Sauvage, 1883)**พบในประเทศไทย
  • Paralaubuca typus (Bleeker, 1865)**พบในประเทศไทย
  • Paralaubuca riveroi (Fowler, 1935)**พบในประเทศไทย
  • Paralaubuca stigmabrachium (Fowler, 1934)

ซึ่งสำหรับในประเทศไทย ปลาแปบควายทั้ง 3 ชนิด ถูกจับขึ้นมาเพื่อทำปลาแห้ง ปลาร้า และบริโภคโดยปรุงสด อีกทั้งยังเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วย

โดยมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า "ท้องพลุ" และในภาษาอีสานเรียกว่า "แตบ", "แตบขาว" หรือ "มะแปบ" เป็นต้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น